ปตท. ชูผลประกอบการแข็งแกร่ง มั่นใจกลยุทธ์ใหม่ถูกทาง พร้อมเพิ่มเงินปันผล ดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล
วันนี้ (21 กุมภาพันธ์ 2568)
P5 Group ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าสุขภาพและความงาม โดยคุณภาวัฒน์ โตกะคุณะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ได้จัดอบรมในหัวข้อ “Happy Workplace” ให้กับผู้บริหารและระดับหัวหน้างาน ภายใต้โครงการสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) โดยมีวัตถุประสงค์หลักให้พนักงานผู้เข้าอบรมตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการสร้างองค์กรแห่งความสุข ความมีน้ำใจ และมีทักษะเสริมในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมเชิงปฏิบัติการและกลุ่มระดมสมอง (Workshop) เพื่อให้พนักงานได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ในการทำงาน
คุณภาวัฒน์ กล่าวว่า องค์กรที่จะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องมีผลมาจากความสุขของพนักงานภายในองค์กร ซึ่งเป็นปัจจัยแรกที่องค์กรคำนึงถึง เพราะฉะนั้น Happy workplace จึงเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้การบริหารงานราบรื่น เมื่อพนักงานในองค์กรมีความสุขสนุกกับสิ่งที่ตัวเองทำ จะทำให้เกิดความภูมิใจและเห็นคุณค่าของงาน การมองเห็นคุณค่าของงานและเพื่อนร่วมงานตลอดจนรู้จักเข้าใจมีน้ำใจกับคนรอบข้าง ทำให้เกิดการกระตุ้นเสริมพลังการทำงานและสร้างแรงจูงใจในการเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลงานที่ดี เกิดความคิดสร้างสรรค์ ลดความขัดแย้งในการทำงาน เกิดวัฒนธรรมการทำงานที่ดี สามารถส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร ทำให้องค์กรเจริญก้าวหน้า และการพัฒนาที่ยั่งยืน.
ชูแนวคิด “พลังสตรีเสริมสร้างงานที่มีคุณค่า พัฒนาเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” เปิดตัว 30 สตรีทำงานดีเด่น ปี 2568 นำโดย “ผู้ว่าการ ททท. – เชอรี่ เข็มอัปสร – มิ้นท์ อรชพร” พร้อมผลักดันสิทธิลาคลอด 120 วัน และเปิดศูนย์ที่ปรึกษาแรงงานหญิง
In an era where AI and technology are advancing rapidly, the online world is filled with both opportunities and challenges. Fake information, identity fraud, and cyberattacks have become increasingly complex to handle. AI-powered bots can generate fake news, impersonate real people, and even execute financial scams seamlessly. At the same time, phishing and malware have evolved to become even more deceptive. Establishing effective, secure ways to distinguish human activity from bots online is now more important than ever.
ในยุคที่ AI และเทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โลกออนไลน์เต็มไปด้วยทั้งโอกาสและความท้าทาย ข้อมูลเท็จ การปลอมแปลงตัวตน และการโจมตีทางไซเบอร์กลายเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและทำให้จัดการยากขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ บอทที่ขับเคลื่อนด้วย AI สามารถสร้างข่าวปลอม ปลอมแปลงเป็นบุคคลจริง และแม้แต่ดำเนินการหลอกลวงทางการเงินได้อย่างแนบเนียน ในขณะเดียวกัน การโจมตีแบบฟิชชิ่ง (Phishing) และมัลแวร์ (Malware) นั้นมีการพัฒนาให้มีความแนบเนียนมากขึ้น การสร้างวิธีการที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพเพื่อแยกแยะกิจกรรมของมนุษย์จากบอทในโลกออนไลน์จึงมีความสำคัญมากกว่าที่เคย
จัดทำ “โครงการประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์ (Logo) ครบรอบ 78 ปี อ.อ.ป.” ขึ้น เพื่อเป็นการสื่อสารและสร้างการรับรู้ในบทบาทและภารกิจของ อ.อ.ป. ต่อสาธารณชน ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อ.อ.ป. มากยิ่งขึ้น ส่งผลงานได้ตั้งแต่วันนี้ - 31 มีนาคม 2568
กลุ่ม ปตท. เดินหน้าสู่ Net Zero ศึกษาการใช้ CCUS และไฮโดรเจนคาร์บอนต่ำ