ยูบีเอส ส่งเสริมนโยบายการเรียนรู้ ผนึกมูลนิธิ EDF จัดอบรมความปลอดภัยในโรงเรียน
ยูบีเอสตระหนักถึงความปลอดภัยในโรงเรียน จับมือมูลนิธิ EDF ให้ความรู้แก่นักเรียนจาก 3 โรงเรียน ในจังหวัดสระบุรี โดยมีครู ผู้ปกครอง และชุมชน เข้าร่วมด้วย
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก บริการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังโลหะหนักหลักสำคัญในทุเรียน แคดเมียม Cd, สารหนู As, ตะกั่ว Pb ทราบผลได้ใน 3-5 วัน พร้อมรับมือจัดการแปลงปลูกปลอดภัย ด้วยการใช้ตัวอย่างส่งตรวจ เช่น ดินทั่วแปลงที่ความลึก 15-30 เซนติเมตร คละกันให้ได้น้ำหนัก 3 กิโลกรัม ตากในที่ร่มให้แห้ง จากนั้นใส่ถุงสะอาด ปิดสนิท , ใบ ให้เก็บเฉพาะใบเพสลาด กระจายทั่วแปลงต้นละ 10 ใบ ให้ได้น้ำหนักรวมกัน 1 กิโลกรัม ใส่ถุงปิดสนิท ใส่ในกระติกน้ำหรือวัสดุทึบแสง , น้ำ เก็บบริเวณชั้นบน ชั้นกลาง ชั้นล่าง กระจายให้ทั่วรวมกันให้ได้ปริมาตร 5 ลิตร ใส่แกลลอนที่ล้างด้วยน้ำบ่อเดียวกัน ปิดสนิท , ผลทุเรียนอายุผล 90 วันขึ้นไป จำนวน 2-5 ลูก , ปุ๋ยอินทรีย์ 3 กิโลกรัมขึ้นไป , ปุ๋ยเคมี 200 กรัมขึ้นไป และปุ๋ยน้ำ 200 มิลลิลิตร
เกษตรกรสามารถเข้าใช้บริการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังโลหะหนักหลักสำคัญในทุเรียนได้ ทุกวันจันทร์และพุธ (เว้นวันนักขัตฤกษ์) มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้นในการตรวจที่ 600 บาท โดยเกษตรกรจะได้รับผลการตรวจธาตุโลหะหนัก ซึ่งในกรณีพบสารโลหะหนักเกินมาตรฐาน ทางศูนย์จะให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไขให้กับเกษตรกรต่อไป
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหารภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี โทร. 06-1660-5306 , Facebook : https://www.facebook.com/FoodInnoRBRU , Line : https://lin.ee/CoSl2Or
“ราชภัฏรำไพ สร้างความอุ่นใจ ให้เกษตรกร”
ยูบีเอสตระหนักถึงความปลอดภัยในโรงเรียน จับมือมูลนิธิ EDF ให้ความรู้แก่นักเรียนจาก 3 โรงเรียน ในจังหวัดสระบุรี โดยมีครู ผู้ปกครอง และชุมชน เข้าร่วมด้วย
โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาเเละพัฒนากำลังคนขั้นสูง (Reinventing university) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ลงพื้นที่เกาะหมาก อำเภอเกาะกูด จังหวัดตราด เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาเเละพัฒนากำลังคนขั้นสูง (Reinventing university) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ลงพื้นที่เกาะหมาก อำเภอเกาะกูด จังหวัดตราด เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จัดโครงการเปิดโลกชมรม ประจำปีการศึกษา 2568 มีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาได้ร่วมเป็นสมาชิกชมรมที่สนใจ และสามารถพัฒนาทักษะความรู้ของตนเอง รวมทั้งการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีให้การต้อนรับ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงทระพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการเข้าหารือด้านการสร้างสวนป่าไม้ยืนต้น พื้นที่จันทบุรีและตราด
โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปี 2568 (KMUTNB Innovation Awards 2025) ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 โดยประกวดรอบตัดสิน 12 ผลงานสุดท้าย จาก 60 ผลงานนวัตกรรมที่ผ่านรอบคัดเลือกจากทั่วประเทศ ในรูปแบบ Virtual Exhibition พร้อมการประกาศผลรางวัลถ้วยพระราชทานฯ ซึ่งการประกวดจัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) INNOVATIVE IDEAS (ID) ผลงานมีการแสดงแนวคิดเริ่มต้นโดยการประยุกต์ใช้หลักการพื้นฐานมาสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ และ 2) INNOVATIVE PRODUCTS (IP) เมื่อวันศุกร์ที่ 27 มิถุนายน 2568